ผู้เขียน หัวข้อ: บริหารจัดการอาคาร: แนวทางการวางท่อระบายน้ำคอนกรีต และข้อควรรู้ก่อนวางท่อระบายน้ำ  (อ่าน 138 ครั้ง)

siritidaphon

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 233
  • ลงประกาศฟรีใหม่ ๆ , ฝากร้านฟรีโพสฟรี , รวมเว็บลงประกาศฟรี , ลงประกาศฟรี ติดอันดับ
    • ดูรายละเอียด
บริหารจัดการอาคาร: แนวทางการวางท่อระบายน้ำคอนกรีต และข้อควรรู้ก่อนวางท่อระบายน้ำ

ท่อระบายน้ำ หมายถึง ท่อหรือรางสำหรับระบายน้ำเสียจากแหล่งชุมชน และอุตสาหกรรม หรือการระบายน้ำฝน โดยระบบท่อระบายน้ำนั้น นอกจากระบบท่อแล้วต้องมีส่วนประกอบอื่นเพื่อใช้ในการรวบรวมน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียต่าง ๆ ได้แก่ เช่น อาคารที่พักอาศัย โรงแรม โรงพยาบาล สถานที่ราชการ และเขตพาณิชยกรรม เขตธุรกิจ


การวางระบบท่อระบายน้ำ จำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญในการสำรวจ วิเคราะห์ วางแผน และออกแบบตามรูปแบบและวัตถุประสงค์ของการระบายน้ำให้รอบคอบและรัดกุมที่สุด เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งในการออกแบบระบบวางท่อระบายน้ำ ต้องพิจารณาหลาย ๆ ด้าน เช่น ลักษณะภูมิประเทศของแต่ละท้องถิ่น ปริมาณน้ำฝน น้ำในดิน ตำแหน่งของการวางท่อระบายน้ำต้องวางในตำแหน่งที่สามารถระบายน้ำได้ดีที่สุด ระดับของท่อระบายน้ำที่ช่วยให้เกิดการไหลในปริมาณที่เหมาะสม รวมทั้งชนิดของท่อระบายน้ำ ขนาดของท่อระบายน้ำ และจำนวนท่อระบายน้ำ เป็นต้น


ก่อนวางท่อระบายต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง


1. การเลือกใช้ท่อระบายน้ำ

การเลือกท่อระบายน้ำ ต้องเลือกให้มีความแข็งแรงให้เพียงพอสำหรับรองรับน้ำหนักในการใช้งานได้และความเหมาะสมกับสถานที่นั้น ๆ รวมถึงองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น ปริมาณของน้ำที่มากจากน้ำฝนและน้ำทิ้งในพื้นที่ ลักษณะภูมิประเทศและความลาดชันของพื้นที่ เพื่อนำมาคำนวณหาท่อระบายที่เหมาะสม โดยดูทั้งขนาดของท่อระบายน้ำ ความจุของท่อระบายน้ำ และความเร็วที่เหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดการระบายน้ำอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งวัสดุที่นิยมนำมาใช้สำหรับวางท่อระบายน้ำคือ ท่อระบายน้ำคอนกรีต

ท่อระบายน้ำคอนกรีตมีลักษณะแข็งแรงคงทนมีความยาวท่อนละประมาณ 100 เซนติเมตร และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหลายขนาดตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ โดยแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ท่อระบายน้ำชนิดกลม และท่อระบายน้ำชนิดเหลี่ยม

    ท่อระบายน้ำชนิดกลม ลักษณะของท่อกลม จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดปากรางลิ้นและชนิดปากระฆัง นอกจากนี้ท่อกลมยังแบ่งตามมาตรฐานอุตสาหกรรมอีก 4 ชั้น คือ ชั้น 1, ชั้น 2, ชั้น 3 และ ชั้น 4 เหมาะสำหรับการระบายน้ำไม่มาก ใช้ในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำไม่มากนัก สามารถนำไปใช้กับช่องน้ำขนาดเล็ก หรือมีร่องน้ำกว้างไม่เกิน 5 เมตร ขนาดท่อมีตั้งแต่ 0.30 – 1.50 เมตร มีอัตราการไหลผ่านของน้ำจำนวน 0 – 5 ลบ./วินาที ขึ้นอยู่กับขนาดของท่อ หากใช้ในย่านชุมชนควรมีบ่อพักทุกระยะ สำหรับงานทางหลวงนิยมใช้แบบปากรางลิ้น เพราะขนย้ายได้สะดวก และจะใช้เฉพาะท่อ ค.ส.ล. ชั้นที่ 2 กับงานผิวจราจร ส่วนท่อ ค.ส.ล. ชั้นที่ 3 จะใช้กับงานผิวทางเท้า

    ท่อระบายน้ำชนิดเหลี่ยม ท่อระบายน้ำชนิดเหลี่ยมมีให้ใช้ทั้งแบบหล่อสำเร็จ และแบบหล่อในพื้นที่ทั้งแบบคอนกรีต หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งาน เหมาะกับงานที่ต้องการระบายน้ำให้จำนวนมากในพื้นที่ชุมชนขนาดใหญ่ เพราะมีขนาดพื้นที่หน้าตัดเปิดช่องได้มากกว่าท่อกลม โดยสามารถแบ่งตามชนิดของโครงสร้างได้เป็น 2 ชนิด คือ โครงสร้างแบบ Simple และ โครงสร้างแบบ Span Rigid Frame หากนำไปใช้กับลำน้ำต้องมีความกว้างไม่เกิน 10 เมตร มีขนาดท่อตั้งแต่ 0.60 x 0.60 – 3.60 x 3.60 เมตร มีอัตราการไหลผ่านของน้ำจำนวน 5 – 30 ลบ./วินาที ขึ้นอยู่กับขนาดของท่อ


2. ความลาดเอียงหรือลาดชัน

การออกแบบระบบท่อน้ำเสียจะใช้หลักการที่ว่า น้ำมักจะไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ดังนั้น การวางท่อเพื่อใช้ในการระบายน้ำจึงจำเป็นต้องอาศัยความลาดเอียงของท่อ เพื่อให้น้ำในท่อสามารถไหลได้อย่างรวดเร็วเพียงพอที่จะนำเอาสิ่งสกปรกหรือเศษผงให้ไหลผ่านออกไปได้อย่างสะดวก การวางท่อระบายน้ำโดยรอบอาคาร การใช้ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ต้องอาศัยความลาดเอียงที่ไม่ต่ำกว่า 1 : 200 (50%) ตามระดับแนวตรงที่สุด ซึ่งหมายความว่าในทุก ๆ ความยาวของท่อ 2 เมตร จะต้องมีความต่างระหว่างปากท่อและปลายท่อ ต่ำลง 1 ซม. เสมอ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่เหมาะสำหรับการไหลของน้ำทิ้ง ปัจจุบันมีท่อระบายน้ำหลากหลายขนาดให้เลือกใช้งาน ตั้งแต่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3 เมตร 0.4 ม. ไปจนถึง 1.50 เมตร หรืออาจมีขนาดใหญ่กว่านั้นตามความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น ในเขตกรุงเทพมหานคร มีการกำหนดความลาดเอียงของท่อระบายน้ำไม่ต่ำกว่า 1 : 500 โดยใช้ท่อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 เมตร ส่วนท่อระบายน้ำที่มีขนาดใหญ่กว่านี้ จำเป็นต้องใช้ระดับความลาดเอียงไม่ต่ำกว่า 1 : 1,000 ของทั้งระบบระบายน้ำ

โดยก่อนที่จะทำการวางท่อระบายนั้นจำเป็นต้องมีการปรับระดับความลาดเอียงโดยการเททรายอัดแน่นลงไปก่อน จากนั้นค่อยเทคอนกรีตหยาบลงไปตามแนวความยาวของท่อ และควรมีบ่อพักท่อระบายน้ำทุกระยะ 6 – 8 เมตรตามความของท่อ หรือมุมเลี้ยวเปลี่ยวทิศทางหรือแนวการวางท่อ โดยต้องเลือกขนาดให้เหมาะสมต่อการใช้งานร่วมกับบ่อพักคอนกรีต เพื่อการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ง่ายต่อการทำความสะอาดและดูแลรักษา


3. การวางระยะห่างของบ่อพักระบายน้ำ

บ่อพักคอนกรีตสำหรับการระบายน้ำมักใช้งานร่วมกันกับท่อระบายน้ำคอนกรีต สำหรับเกณฑ์การออกแบบโดยทั่วไปมีการกำหนดให้ระยะห่างสูงสุดสำหรับเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อขนาดต่างๆ ดังต่อไปนี้

    ท่อระบายน้ำขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่าหรือเท่ากับ 600 มม. ควรมีระยะห่างไม่เกิน 100 เมตร
    ท่อระบายน้ำขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 700 – 1,200 มม. ควรมีระยะห่างไม่เกิน 120 เมตร
    ท่อระบายน้ำขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 1,200 มม. ระยะห่างให้อยู่ในดุลยพินิจของวิศวกรและสภาพแวดล้อม

อย่างไรก็ตาม การวางระยะห่างอาจมีความแตกต่างกันตามข้อกำหนด มาตรฐานและขนาดของท่อระบายน้ำ เช่น ในกรุงเทพมหานคร การวางท่อระบายน้ำจะทำตามแบบมาตรฐานของกรุงเทพมหานคร โดยที่บ่อพักท่อระบายน้ำจะต้องมีระยะห่างระหว่างบ่อพักต้องไม่เกิน 15 เมตร ส่วนในนิคมอุตสาหกรรมมีการออกมาตรฐานว่าต้องวางให้มีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร สำหรับทางหลวงท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร ต้องมีระยะห่างระหว่างบ่อพักไม่เกิน 8 เมตร และท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 – 1.5 เมตร ต้องมีระยะห่างระหว่างบ่อพักไม่เกิน 16 เมตร ขึ้นอยู่ โดยต้องมีทุกจุดที่มีการเปลี่ยนขนาดท่อ และจุดบรรจบของท่อหรือรางระบายน้ำ


4. ความถี่และปริมาณน้ำฝนในพื้นที่

ปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการออกแบบสำหรับการระบายน้ำฝนในเขตที่พักอาศัย มักคำนวณจากความถี่ของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ระยะ 2 – 15 ปี และลักษณะพื้นที่ในแต่ละแห่ง ส่วนในเขตพาณิชย์ใช้การคำนวณความถี่ช่วงระยะ 10 – 50 ปี เช่น ในพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร จะใช้เกณฑ์ปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 5 ปี


5. ความเร็วในการไหลของน้ำเสีย

โดยทั่วไปแล้วความลาดเอียงของท่อแนวนอน จะเป็นตัวกำหนดความเร็วของน้ำภายในท่อ แต่อัตราการความเร็วในการล้างท่อด้วยตัวเองของท่อระบายน้ำเสียหรือความเร็วภายในท่อไม่ควรน้อยกว่า 0.6 เมตร/วินาที เพื่อป้องกันไม่ให้เศษผงต่าง ๆ เกิดการตกตะกอนภายในเส้นท่อ และความเร็วสูงสุดไม่ควรเกิน 6 เมตร/วินาที เพื่อป้องกันการกัดกร่อนของท่อระบายน้ำ ซึ่งความเร็วภายในท่อที่นิยมใช้อยู่ที่ประมาณ 2-3 เมตร/วินาที ส่วนความเร็วของน้ำที่ไหลออกมาจากปลายท่อ ไม่ควรมีความเร็วที่สูงเกินไปจนทำให้เกิดการกัดเซาะ ยกเว้นมีการทำโครงสร้างให้มีการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ เช่น ใช้ดินทรายหรือดินตะกอนทำโครงสร้าง ความเร็วของการไหลที่ปลายท่อต้องไม่เกิน 1 เมตร/วินาที ในกรณีที่เป็นดินเหนียว ความเร็วที่ปลายท่อไม่ควรเกิน 1.2 เมตร/วินาที

 
ข้อควรระวังในการวางท่อระบายน้ำ

ไม่ควรวางท่อให้ระดับปากท่อด้านล่างต่ำกว่าระดับดินเดิมของร่องน้ำ เพราะอาจทำให้เกิดการสะสมของตะกอนภายในเส้นท่อได้ และไม่ควรวางท่อให้ระดับปากท่อด้านล่างสูงกว่าระดับดินเดิม เพราะจะทำให้เกิดการกัดเซาะของน้ำบริเวณใต้ท่อระบายน้ำได้



 






















































รวมเว็บลงประกาศฟรี ล่าสุด
รวมเว็บประกาศฟรี
โพสต์ขายของฟรี
ลงโฆษณาสินค้าฟรี
โฆษณาฟรี
ประกาศฟรี
เว็บฟรีไม่จำกัด
ทำ SEO ติด Google
ลงประกาศขาย
เว็บฟรียอดนิยม
โพสโฆษณา
ประกาศขายของ
ประกาศหางาน
บริการ แนะนำเว็บ
ลงประกาศ
รวมเว็บประกาศฟรี
รวมเว็บซื้อขาย ใช้งานง่าย
ลงประกาศฟรี ทุกจังหวัด
ต้องการขาย
ปล่อยเช่า บ้าน คอนโด ที่ดิน
ขายบ้าน คอนโด ที่ดิน
ประกาศฟรี ไม่มี หมดอายุ
เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ
ฝากร้านฟรี โพ ส ฟรี
ลงประกาศฟรี กรุงเทพ
ลงประกาศฟรี ทั่วไทย
ลงประกาศโฆษณาฟรี
ลงประกาศฟรี 2023
รวมเว็บลงประกาศฟรี

รวม SMFขายสินค้า
ประกาศฟรีออนไลน์
ลงประกาศ สินค้า
เว็บบอร์ด โพสต์ฟรี
ลงประกาศ ซื้อ-ขาย ฟรี
ชุมชนคนไอทีขายสินค้า
ลงประกาศฟรีใหม่ๆ 2023
โปรโมทธุรกิจฟรี
โปรโมทสินค้าฟรี
แจกฟรี รายชื่อเว็บลงประกาศฟรี
โปรโมท Social
โปรโมท youtube
แจกฟรี รายชื่อเว็บ
แจกฟรีโพสเว็บบอร์ดsmf
เว็บบอร์ดsmfโพสฟรี
รายชื่อเว็บบอร์ดขายสินค้าฟรี
ลงประกาศฟรี เว็บบอร์ด
เว็บบอร์ดขายสินค้าฟรี
ฟรี เว็บบอร์ด แรงๆ
โพสขายสินค้าตรงกลุ่มเป้าหมาย
โฆษณาเลื่อนประกาศได้
ขายของออนไลน์
แนะนำ 6 วิธีขายของออนไลน์
อยากขายของออนไลน์
เริ่มต้นขายของออนไลน์
ขายของออนไลน์ เริ่มยังไง
ชี้ช่องขายของออนไลน์
การขายของออนไลน์
สร้างเว็บฟรีประกาศ

smf โพสฟรี
smf ขายของออนไลน์อะไรดี
smf โพสฟรี
อยากขายของออนไลน์ smf
ขายของออนไลน์ยังไงให้มีคนซื้อ
smf เริ่มต้นขายของออนไลน์
ไอ เดีย การขายของออนไลน์
เว็บขายของออนไลน์
เริ่ม ขายของออนไลน์ โพสฟรี
smf ขายของออนไลน์ที่ไหนดี
เทคนิคการโพสต์ขายของ
smf โพสต์ขายของให้ยอดขายปัง
โพสต์ขายของให้ยอดขายปังโพสฟรี
smf ขายของในกลุ่มซื้อขายสินค้า
โพสขายของยังไงให้มีคนซื้อ
smf โพสขายของแบบไหนดี
โพสฟรีแคปชั่นโพสขายของยังไงให้ปัง
smf แคปชั่นแม่ค้าออนไลน์
แคปชั่นแม่ค้าออนไลน์ โพสฟรี
ขายของให้ออร์เดอร์เข้ารัว ๆ
smf โพสต์เรียกลูกค้า
โพสต์เรียกลูกค้าโพสฟรี
smf ขายของออนไลน์ให้ปัง
smf โพสต์ขายของ
smf เขียนโพสขายของโดนๆ
แคปชั่นเปิดร้าน โพสฟรี
smf วิธีโพสขายของให้น่าสนใจ
วิธีเพิ่มยอดขาย โพสฟรี
smf เทคนิคเพิ่มยอดขาย

เพิ่มยอดขายให้เข้าเป้า
เว็บบอร์ดฟรี
โปรโมทฟรี
มีลูกค้าเพิ่ม - YouTube
ผลักดันยอดขายโปรโมทฟรี
โปรโมทผลักดันยอดขาย
โปรโมทแผนการเพิ่มยอดขายให้ได้ผล
โปรโมทวิธีการวางแผนการเพิ่มยอดขาย
ยอดขายไม่ดีควรทำอย่างไร
ยอดขายตกเกิดจากอะไร
ทำไมต้องเพิ่มยอดขาย
ขายฟรี
ยอดการขาย คืออะไร
กลยุทธ์เพิ่มยอดขาย
โพสฟรีการกระตุ้นยอดขาย
โปรโมทกระตุ้นยอดขาย
โปรโมทฟรีออนไลน์กระตุ้นยอดขาย
ประกาศฟรีเพิ่มยอดขาย
ลงประกาศเพิ่มยอดขาย
ฝากร้านฟรีเพิ่มยอดขาย
ลงประกาศฟรีใหม่ ๆ เพิ่มยอดขาย
เว็บประกาศฟรีเพิ่มยอดขาย
Post ฟรี
ประกาศขายของฟรี
ประกาศฟรี
โพส SEO
ลงโฆษณาฟรี
โปรโมทเพจร้านค้า